comparemela.com

Card image cap


อาทิตย์ 11 กรกฎาคม 2564
รู้จัก 'Rapid Antigen Test' ก่อนซื้อตรวจ 'โควิด-19' เอง
11 กรกฎาคม 2564
8,436
ชุด "Rapid Antigen Test" กระทรวงสาธารณสุข หารือ 12ก.ค.นี้ จะอนุญาตให้ใช้ ได้ด้วยตัวเองหรือไม่ สิ่งสำคัญต้องสร้างความเข้าใจว่า ชุดตรวจ "โควิด-19" นี้ ยังมีผลลวงที่อาจเกิดขี้นได้ จำเป็นต้องแปลผลให้ถูกต้อง หากผลบวกต้องตรวจซ้ำ หากผลลบไม่ใช่ไม่ติดเชื้อ
กรณีการปลดล็อก ชุด
Rapid Antigen Test à¸«à¸£à¸·à¸­ ชุดตรวจ
โควิด-19 à¸—ี่กระทรวงสาธารณสุข เตรียมหารือเพื่อประกาศใช้ในวันที่  12 กรกฎาคม นี้ ยังมีประเด็นสำคัญที่ต้องทำความเข้าใจกับประชาชน โดยเฉพาะเรื่องของ 
ผลลวงของชุดตรวจโควิด ที่อาจเกิดขี้นได้ จำเป็นต้องแปลผลให้ถูกต้อง หากผลบวกต้องตรวจซ้ำ หากผลลบไม่ใช่ไม่ติดเชื้อและเมื่อตรวจแล้วต้องมีระบบดูแลหลังทราบผลตรวจรองรับด้วย จำเป็นอย่างยิ่งต้องสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้ประชาชนก่อน
ความต่างตรวจAntigen-Antibody
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ à¸à¸¥à¹ˆà¸²à¸§à¸§à¹ˆà¸² มีการหารือถึงการใช้ชุดตรวจแอนติเจน(Rapid Antigen Test)ร่วมกันระหว่างกรม สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.) กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค เครือข่ายโรงเรียนแพทย์ และคณะทำงานวิชาการ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข  à¹à¸¥à¸°à¸à¸£à¸°à¸—รวงสาธารณสุข(สธ.)มีมติเห็นชอบ ในแนวทางการดำเนินการใช้ชุดตรวจแอนติเจน เพื่อให้ใช้ได้มีประสิทธิผลสูงสุดและไม่มีปัญหาแทรกซ้อนอะไรเกิดขึ้น
             à¸™à¸ž.ศุภกิจ à¹€à¸£à¸´à¹ˆà¸¡à¸•à¹‰à¸™à¸­à¸˜à¸´à¸šà¸²à¸¢à¸§à¹ˆà¸²  โดยปกติเมื่อรับเชื้อไวรัสเข้าไปในร่างกาย จะใช้เวลาหนึ่งในการที่จะมีการตรวจพบ ไม่ว่าจะเป็นตัวไวรัสหรือองค์ประกอบไวรัส และไม่ว่าจะเป็นการตรวจวิธีไหนก็ตาม ซึ่งแต่ละวิธีมีความช้า ความเร็วในการตรวจพบเจอแตกต่างกันไป หรือมีความไวในการตรวจกรณีมีเชื้อขึ้นมากหรือน้อยแตกต่างกันไป และไม่นานจะมีภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นมา ซึ่งจะใช้เวลานานกว่าที่จะตรวจพบเจอ
           “ชุดตรวจที่นำมาใช้ในผู้ที่ต้องการตรวจหาเชื้อนี้ เป็นการตรวจแอนติเจน คือ ตรวจตัวไวรัสหรือองค์ประกอบไวรัส ไมได้พูดถึงเรื่องการตรวจแอนติบอดีที่เป็นภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทาน ซึ่งทั้งคู่มีวิธีการตรวจที่ชุดทดสอบอย่างง่าย (test kit)ที่สามารถตรวจได้และได้ผลรวดเร็วทั้งคู่ แต่ที่พูดถึงนี้คือแอนติเจน ส่วนแอนติบอดีหรือภูมิต้านทาน เหตุที่ไม่นำมาใช้ เพราะกว่าที่ภูมิต้านทานจะขึ้นใช้เวลานาน และถ้าขึ้นมาแล้ว ในปัจจุบันที่มีคนฉีดวัคซีนแล้วเป็น 10 ล้านโดส ซึ่งภูมิต้านทานที่เกิดขึ้นอาจเป็นจากวัคซีน ทำให้ไม่สามารถแยกกันได้”นพ.ศุภกิจกล่าว  
          à¸Šà¸¸à¸”ตรวจแอนติเจนชนิดอย่างเร็วที่ขึ้นทะเบียนกับอย.แล้วมี 24 ยี่ห้อ โดยได้รับอนุญาตให้ใช้โดยบุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น ไม่ได้สามารถเอาไปตรวจด้วยตนเองเองได้ในขณะนี้ แต่อาจจะจะดำเนินการต่อไปปในอนาคตข้างหน้า อาจมีการพิจารณาการตรวจเองที่บ้าน แต่ปัจจุบันให้สถานพยาบาลเป็นคนตรวจ ซึ่งทั้ง 24 ยี่ห้อมีคุณภาพแตกต่างหลากหลาย การเก็บตัวอย่างที่ใช้เทคนิคการตรวจ บางอันเก็บแหย่จมูก แหย่จมูกถึงคอหอย บางอันเข้าทางปากถึงคอหอย เป็นต้น และการทำลายเชื่อของสารทำละลาย น้ำยาที่ใช้ในการตรวจ ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ออกคำแนะนำ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการณ์กรณีนี้ ถ้ามีความจำเป็นในการใช้ชุดตรวจที่ทราบผลเร็ว โดยมีข้อจำกัดการตรวจRT-PCR เพื่อเอาผลเบื้องต้นไปดำเนินการบางอย่างก่อนก็ไม่ได้ขัดข้อง
       “แต่ขอให้เข้าใจว่าคนตรวจผลเป็นลบ ไม่ใช่ไม่ติดเชื้อ แต่อาจเชื้อน้อย และตรวจไม่เจอด้วยวิธีนี้  à¸«à¸²à¸à¸•à¸£à¸§à¸ˆà¹à¸¥à¹‰à¸§à¸šà¸§à¸ อาจจะต้องยืนยันผลด้วยวิธี RT-PCRอีกครั้ง à¹€à¸žà¸£à¸²à¸°à¸¡à¸µà¸ˆà¸³à¸™à¸§à¸™à¸­à¸¢à¸¹à¹ˆà¸šà¹‰à¸²à¸‡à¸­à¸²à¸ˆà¸ˆà¸°à¹€à¸à¸´à¸”ผลบวกลวง เพราะการจะรักษาคนไข้อาจต้องยืนยันอีกครั้ง” à¸™à¸ž.ศุภกิจกล่าว
       à¸ªà¹ˆà¸§à¸™à¸à¸£à¸“ีที่มีความกังวลว่าจะสามารถเบิกงบประมาณการตรวจด้วยวิธีการนี้ได้หรือไม่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)กำลังพิจารณากำหนดเกณฑ์ในการเบิกจ่าย  
ข้อแนะนำการใช้ชุดตรวจ
     ข้อแนะนำการใช้ชุดตรวจแอนติบอดี(Rapid Antigen Test)โดยสถานพยาบาล ประกอบด้วย 1.เลือกชุดตรวจที่ผ่านการประเมินและขึ้นทะเบียนอย. 2.การเก็บตัวอย่างใช้การแหย่จมูกถึงด้านหลังคอ การแหย่ผ่านช่องปากไปที่คอ หรือจมูกอย่างเดียว สุดแท้แต่ชุดตรวจจะกำหนด
3.ใช้เพื่อคัดกรองเบื้องต้น และควรได้รับการตรวจยืนยันด้วย RT-PCRและทำคำแนะนำชัดเจนทั้งการแปลผลและการแยกกักตนเอง 4.สถานที่รับตรวจ ยังไม่ได้ให้ตรวจเองหรือตรวจที่บ้าน ยังต้องเป็นสถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนและได้รับการรับรองโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มี 300 กว่าแห่งทั่วประเทศ น่าจะเพียงพอ ที่ต้องอนุญาตเฉพาะส่วนนี้ก่อน เพราะถ้าผลบวกหรือลบ  จะต้องนำสู่การตรวจRT-PCR เพื่อยืนยันและสถานพยาบาลทั้งหมดนี้ได้รับการรองการตรวจอยู่แล้ว จึงต้องกำหนดไม่เปิดให้ดำเนินการในคลินิกที่ไม่ผ่านการรับรอง
       และ5.เตรียมพร้อมระบบทางการแพทย์  à¸–้าตรวจมากขึ้น เข้าถึงมากขึ้น เร็วขึ้น ข้อดีคืออาจจะเจอคนไข้เป็นบวก เพิ่มมากขึ้น ขณะที่ระบบบริการควรสงวนไว้ให้คนอาการหนัก อาจจต้องควบคู่กับhome Isolation ด้วยการให้กักตัวที่บ้านอย่างมีคุณภาพ หรือCommunity Isolation ที่มีสถานที่ระบบดูแลไม่ให้แพร่เชื้อ และป่วยหนักรับรักษาต่อไป ป้องกันการป่วยหนักและเสียชีวิต
แนวทางการใช้ Rapid Antigen Test
            แนวทางการใช้ Rapid Antigen Test ในพื้นที่ติดเชื้อวงกว้าง กรณีเป็นผู้สงสัยที่ไม่มีอาการใดๆ ถ้าตรวจด้วยแอนติเจน เทสต์แล้ว เป็นลบ  ให้คำอธิบายว่ายังไม่เจอเชื้อ แต่อาจจะมีเชื้อน้อยๆ ให้กลับไปดูแล กักตัวที่บ้าน และอาจจะมาตรวจใหม่อีกครั้งในเวลาที่เหมาะสม ถ้าผลบวกจะยืนยันด้วยการตรวจ RT-PCR ถ้าผลเป็นลบ ก็ให้คำแนะนำเหมือนตรวจแอนติเจนเป็น ลบ แต่ถ้าผลเป็นบวก จะเข้าระบบในการที่ดูแลผู้ป่วยโควิด  à¸–้าอาการไม่มากก็ใช้ home Isolation
        à¸à¸£à¸“ีกลุ่มที่มีความเสี่ยง ผู้สัมผัสแล้วมีอาการ ปกติแนะนำให้ตรวจ RT-PCRเป็นหลัก เพราะวิธีมาตรฐานที่ตรวจเจอเชื้อเร็วที่สุด แต่ในกรณีที่สถานบริการรองรับไม่ไหว มีคนตรวจจำนวนมาก อาจใช้วิธี Rapid Antigen Testก่อนได้ ถ้าใครบวกตรวจยืนยันอีกครั้งด้วยวิธีRT-PCR แต่ถ้าผลลบและตรวจด้วย RT-PCR ลบด้วย ก็อาจจะกลับไปดูแลตัวเองตามระบบ ซึ่งแนวทางที่กำหนด เพื่อทำความเข้าใจกับระบบริการ เพื่อให้ผลตรวจช่วยคัดกรองเบื้องต้น คนจะได้ไม่ไปรอคิว เพราะจำนวนหนึ่งไม่ใช่คนที่มีโควิดแต่อย่างใด  à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸¥à¸”ปริมาณการตรวจ RT-PCRลง ทำให้คนเข้าถึงบริการมากขึ้น
     “การตรวจโดยRapid Antigen Test ไม่ใช่การตรวจแอนติบอดีที่ตรวจจากเลือด แต่จะตรวจตัวอย่างจากจมูกหรือคอ เพื่อช่วยให้คนเข้าถึงบริการมากขึ้น ไม่อยากให้คนไม่มีคิวตรวจ แล้วไม่ได้ไปตรวจแล้วเกิดปัญหาคนจำนวนหนึ่งแพร่เชื้อได้ โดยที่ไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้ออยู่ในตัว แต่คนตรวจ Antigen Test แล้วเป็นลบ ก็ต้องระวังตัว กักตัว เพราะการตรวจนี้มีความไวต่ำกว่าRT-PCR และถ้ามีอาการหรือผ่านระยะเวลาหนึ่งต้องตรวจซ้ำ ”นพ.ศุภิจกล่าว  
 
Rapid Antigen testบวกทำไมต้องตรวจซ้ำ ?
   à¸”้านนพ.เอนก มุ่งอ้อมกลาง ผอ.สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 กรมควบคุมโรค ระบุว่า Rapid test positive ชนิด antigen (ผลบวก) แล้วทำไมต้องตรวจด้วยยืนยันด้วย pcr ตรรกะ คิดจากอะไร ในพื้นที่การระบาดหนักใน setting ที่ความชุกสูงๆ ทำเอางงไปพักหนึ่งเลย
ในเมื่อความจำเพาะ หรือบวกปลอม แทบเป็นศูนย์ หรือพูดง่ายๆแบบชาวบ้านๆ ถ้าตรวจบวกแล้วยังไงซะตรวจซ้ำด้วย pcr ก็บวกอยู่ดี ก็วินิจฉัยได้ด้วยตัวเองได้เลย บวกเสร็จก็อยู่บ้าน หากมีอาการเปลี่ยนแปลง ค่อยตรวจด้วย pcr หากไม่มันใจก็ตรวจด้วยยี่ห้อที่สองที่เทคนิคต่างกันมันบวกก็ถือว่าบวกเลย เหมือน hiv
ในทางตรงข้าม เมื่อความสามารถในการตรวจพบบวกด้วยrapid antigen test มันจะต่ำกว่า pcr เยอะมาก ท่านก็ใช้ประวัติความเสี่ยงเข้ามาเสริม เช่น กรณีมีคนติดในครอบครัว มีคนที่ทำงานติดเชื้อแล้วหลายคน ถึงแม้จะตรวจให้ผลลบ แต่มีประวัติแบบนี้ก็ถือว่าท่านติดเชื้อแล้ว ยกตัวอย่างให้เห็นชัดขึ้นดังนี้
คนอื่นๆในที่ทำงานตรวจบวกด้วย rapid test antigen หลายคน แต่ทำไมของฉันเป็นลบ ก็บอกได้เลยว่ายังไงท่านก็บวก หากตรวจด้วย pcr ถามว่าจำเป็นต้องตรวจด้วย pcrหรือเปล่า ไม่จำเป็น (จำเป็นถ้าต้องการเคลมประกันชีวิต COVID ผูกพันกับข้อกฏหมาย ท่านก็ควรตรวจ) เพระหากตรวจด้วยpcr ไม่ต้องเดาเลยก็ได้ ว่า บวก 10000%
กรณีที่สอง คนอื่นๆในบ้านของฉันบวกแต่ยังเหลือฉันลบอยู่แค่นิดเดียว ก็ตอบอีกครั้งว่าท่านติดเชื้อแล้วด้วยความไวของ rapid test มันต่ำ มันเลยเหลือรอดให้ผลเป็นแบบนั้น ถามว่าจำเป็นต้องตรวจซ้ำด้วย pcr หรือไม่ ตอบว่าไม่จำเป็น เพราะทั้งหมดนี้ไม่เปลี่ยนแปลงแนวทางการรักษา
แล้วกลุ่มไหนบ้างที่จำเป็นต้องตรวจด้วย pcrซ้ำหลังจากตรวจด้วย rapid antigen testบวก ก็คือกลุ่มที่มีอาการเปลี่ยนแปลง ในทิศทางที่อาการแย่ขึ้น
กลุ่มโรคประจำตัวเสี่ยงต่อความรุนแรง
หรือคนที่มีอาการ
ตรวจเพื่อมาประกอบการตัดสินใจให้ยา ตามแนวทางการรักษาแผนปัจจุบัน
แนวทางHome Isolation / Community Isolation
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า กระทรวงสาธารณสุข ได้นำ 2 มาตรการ คือ การแยกกักตัวที่บ้าน และการกักตัวในชุมชนมาใช้ เนื่องจากผู้ติดเชื้อโควิด 19 มีจำนวนมากขึ้น อัตราการครองเตียงของกทม.และปริมณฑลเพิ่มจากเดือนที่ผ่านมาถึง 10,000 ราย จากวันที่ 9 มิถุนายน 2564 มีผู้ป่วย 19,629 ราย เพิ่มเป็น 30,631 รายในวันที่ 9 กรกฎาคม 2564 โดยเป็นผู้ป่วยที่มีอาการไม่มาก (สีเขียว) ร้อยละ 76, อาการปานกลาง (สีเหลือง)
ร้อยละ 20 และอาการหนัก (สีแดง) ร้อยละ 4 ซึ่งผู้ป่วยสีแดงเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวจาก 714 ราย เป็น 1,206 ราย ทำให้บุคลากรแบกรับภาระงานหนักมาก และการเพิ่มบุคลากรผู้เชี่ยวชาญทำได้ยาก
สำหรับการแยกกักตัวที่บ้านและแยกกักตัวในชุมชนนั้น ซึ่งได้กำหนดเกณฑ์ของผู้ติดเชื้อ ต้องสมัครใจ และสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำได้, สถานที่เหมาะสม ใช้จุดแข็งของไทยคือ บวร (บ้าน วัด โรงเรียน) โดย Home Isolation บ้านต้องมีห้องนอนแยก ส่วน Community Isolation ใช้วัด หรือโรงเรียน มีช่องทางสื่อสารผ่านเทเลคอนเฟอเรนซ์ วิดีโอคอล ติดตามอาการทุกวัน โดยแพทย์ พยาบาล วันละ 2 ครั้ง และมีช่องทางติดต่อกรณีฉุกเฉิน รวมทั้งต้องลงทะเบียนกับสถานพยาบาล (มีแผนขยายไปยังชุมชนอบอุ่น และสถานพยาบาลใกล้บ้าน) ผู้ติดเชื้อจะได้รับเครื่องวัดไข้และเครื่องวัดออกซิเจนในเลือด และแนะนำวิธีทดสอบง่าย ๆ กรณีสงสัยว่าปอดมีปัญหาหรือไม่ โดยให้วัดออกซิเจนในเลือดก่อนออกกำลังกายลุกนั่ง 1 นาที และวัดซ้ำหลังทำ หากปริมาณออกซิเจนลดลงมากกว่า 3 % จะรับมารักษาที่โรงพยาบาล และมีระบบรีเฟอร์ผู้ป่วยในกรณีฉุกเฉิน
การแยกกักตัวที่บ้านคือการ admit ผู้ป่วยรายใหม่ไว้ดูแลที่บ้านก่อน หากอาการแย่ลงจะรับมาดูแลรักษาที่โรงพยาบาล และเป็นการบริหารจัดการเตียงให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด จากที่ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาล 14 วัน จะนำผู้ป่วยที่รักษา 7 – 10 วันแล้วอาการดีขึ้น ออกไปแยกกักตัวที่บ้าน จะช่วยให้มีเตียงเพิ่มอีกประมาณ 40 – 50% เพื่อรับผู้ป่วยใหม่ สำหรับการแยกกักตัวในชุมชน กรมการแพทย์ กทม. โรงเรียนแพทย์ ได้เตรียมสถานที่แล้ว ส่วนใหญ่ใช้สถานที่โล่งๆ เช่น ศาลาวัด หรือหอประชุมโรงเรียน นอกจากนี้ยังสามารถใช้แคมป์คนงานหรือหมู่บ้านที่มีที่แยกตัวให้กับผู้ติดเชื้อ และไม่ควรเกิน 200 คนเพื่อลดแออัด และสิ่งแวดล้อมถูกสุขลักษณะ แยกน้ำเสียหรือขยะออกจากชุมชนได้ โดยรับผู้ป่วยที่ไม่มีอาการหรืออาการเล็กน้อย ที่ไม่ต้องใช้ออกซิเจน ซึ่งขอขอบคุณภาคประชาสังคม และเพจต่าง ๆ ที่ช่วยประสานรวบรวมจำนวนผู้ป่วยมาขึ้นทะเบียน สนับสนุนอาหารให้ผู้ป่วย
สำหรับเกณฑ์พิจารณาผู้ป่วย Home Isolation จะต้องเป็นผู้ติดเชื้อที่ไม่มีอาการ อายุไม่เกิน 60 ปี
อยู่คนเดียวหรือมีผู้อยู่ร่วมที่พักไม่เกิน 1 คน ไม่มีภาวะอ้วน ไม่มีโรคร่วม เช่น ปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ และยินยอมแยกตัวในที่พักของตนเอง โดยสถานพยาบาลจะประเมินผู้ติดเชื้อตามดุลยพินิจของแพทย์ ลงทะเบียน แนะนำการปฏิบัติตัว ติดตามประเมินอาการ และรับส่งผู้ป่วยมารักษาในสถานพยาบาลหากมีอาการรุนแรงขึ้น ซึ่งโครงการนี้ได้เริ่มทำแล้วที่โรงพยาบาลราชวิถี จำนวน 20 ราย ได้ผลดี ทุกรายอาการดีขึ้น
“ขณะนี้ มีผู้ขึ้นทะเบียน Home Isolation ที่รพ.ราชวิถี รพ.เลิดสิน และรพ.นพรัตน์ราชธานี 200 กว่าราย และขึ้นทะเบียน Community Isolation อีกกว่า 200 ราย และกำลังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ รวมแล้วประมาณ 400 – 600 ราย เพื่อให้ผู้ติดเชื้อได้รับการดูแลอย่างรวดเร็ว ซึ่งสปสช.สนับสนุนงบประมาณค่าอาหารให้กับผู้ป่วยทุกราย สำหรับ
ผู้ติดเชื้อที่ต้องการร่วมโครงการ ติดต่อได้ที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือโทรสายด่วน 1330” นายแพทย์สมศักดิ์กล่าว
รพ.เอกชนตรวจRapid Antigen Test ได้

Related Keywords

Ireland , Thailand , Roma , Lazio , Italy , China , Bangkok , Krung Thep Mahanakhon , Switzerland , Phrae , Connecticut , United States , Chinese , , Iv The Department , Department Science , Department Of State Doctors , Boarda Academic Center Operations , Department Of State Medical Bangkok , Public Health , Association Hospital , Department Of State , International The Department Science Medical , Health Council Technical , Public Health Sh , Ministry Public Health , Bulletin Council Technical Medical , Council Technical Medical , Iv Council Technical , Home School , Council Technical , Department Science Medical , Academic Center Operations , Phrae Province , Next Protection , Last Systemic , Alcoa David , Center Director Office , Optional Clemson , Phe Kashmir , Designation Arts Director Department , State Medical , Alcoa David Xix , Connecticut Fred Lawrence Video Neck , State Medical Bangkok , Gan Chinese , Hospital Love , Medical Providence , State Doctors , Technical Doctors , Alcoa Gatwick Xix , Ireland Act Professional Technical Medical May , Health Council Technical Medical , Alcoa Switzerland Xix , Technical Medical , Professional Technical Medical , ஐயர்ல்யாஂட் , தாய்லாந்து , ரோமா , லேஸியோ , இத்தாலி , சீனா , பாங்காக் , சுவிட்சர்லாந்து , கனெக்டிகட் , ஒன்றுபட்டது மாநிலங்களில் , சீன , துறை அறிவியல் , பொது ஆரோக்கியம் , சங்கம் மருத்துவமனை , துறை ஆஃப் நிலை , அமைச்சகம் பொது ஆரோக்கியம் , வீடு பள்ளி , சபை தொழில்நுட்ப , நிலை மருத்துவ , நிலை மருத்துவர்கள் , தொழில்நுட்ப மருத்துவ ,

© 2024 Vimarsana

comparemela.com © 2020. All Rights Reserved.